Article

Article บทความ หมายถึงงานเขียนที่เผยแพร่ในสื่อสิ่งพิมพ์หรือสื่ออิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งมีจุดประสงค์เพื่อเผยแพร่ข่าวสาร ผลการวิจัย เผยแพร่ความรู้ การวิเคราะห์ทางการศึกษา การวิพากษ์วิจารณ์ เป็นต้น โดยปกติบทความหนึ่งบทความจะพูดถึงเรื่องใดเรื่องหนึ่งเป็นประเด็นหลักเพียงเรื่องเดียว (จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี)

Article บทความ

  1. พระธาตุ

  2. ในหลวงทรงผนวช

  3. เกาลัด

  4. การปลูกเกาลัด

  5. กาแฟ

  6. Kaolud

  7. Coffee

 

Home

เกาลัด

Google

 

Article

บทความ

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

ส่วนประกอบของบทความ

หัวเรื่อง

หัวเรื่องหรือพาดหัว (headline) เป็นข้อความที่อยู่บนสุดของบทความแสดงถึงประเด็นหลักของบทความ หัวเรื่องมักถูกออกแบบให้โดดเด่นสะดุดตา และใช้คำที่เลือกสรรมาให้เกี่ยวข้องกับหัวเรื่อง หัวเรื่องหรือพาดหัวมักจะถูกเขียนหรือพิมพ์ด้วยรูปแบบอย่างย่อ ซึ่งอาจเรียบเรียงอย่างไม่เป็นประโยคหรือไวยากรณ์ที่ไม่สมบูรณ์

บรรทัดผู้เขียน

บรรทัดผู้เขียน (byline) เป็นบรรทัดแรกถัดจากหัวเรื่องหรือบรรทัดสุดท้ายในบทความที่ลงชื่อผู้เขียน อาจเป็นชื่อจริงหรือนามปากกาก็ได้ และมักจะระบุตำแหน่งงานของผู้เขียนอยู่ด้วย บรรทัดผู้เขียนอาจมีบทสรุปย่อของบทความด้วยก็ได้

นำเรื่อง

นำเรื่อง (lead) ซึ่งอาจเรียกว่าย่อหน้าแนะนำ บทนำ หรือคำนำ เป็นประโยคต่าง ๆ ที่จะดึงดูดความสนใจของผู้อ่านเข้าสู่เนื้อเรื่อง นำเรื่องแสดงให้เห็นถึงเรื่องที่ต้องการนำเสนอ ปรับน้ำเสียงและแนะนำผู้อ่านเข้าสู่บทความ

ในบทความข่าว ส่วนนำเรื่องจะให้ข้อเท็จจริงที่สำคัญที่สุดและตอบคำถามว่า ใคร ทำอะไร ที่ไหน เมื่อไร ทำไม และอย่างไร ในบทความโดดเด่น (บทความที่บรรณาธิการหยิบยกขึ้นเพื่อนำเสนอเป็นประเด็นสำคัญ) ผู้เขียนอาจเลือกใช้เทคนิคต่าง ๆ ในการเปิดเนื้อเรื่อง เช่นการใช้สิ่งต่อไปนี้

เนื้อเรื่อง

สำหรับบทความข่าว รายละเอียดและความละเอียดเป็นสิ่งที่ปรากฏชัดแจ้งในเนื้อเรื่องของข่าว และดำเนินไปอย่างราบรื่นต่อจากนำเรื่อง คำพูดและวาทกรรมจะถูกใช้ในบทความเพื่อเพิ่มอรรถรสและสนับสนุนเนื้อหาที่เขียน นอกจากนี้บทความข่าวส่วนใหญ่ก็ใช้อุปลักษณ์แบบพีระมิดกลับหัว

บทความโดดเด่นจะใช้รูปแบบตามความเหมาะสมตามประเภทของบทความ โครงสร้างของบทความโดดเด่นอาจมีสิ่งต่อไปนี้รวมอยู่ด้วย แต่ไม่จำกัดเพียงเท่านี้ [1]

  • ลำดับเวลา — บทความอาจบรรยายด้วยการเรียงลำดับอย่างหนึ่ง
  • เหตุและผล — สาเหตุและผลลัพธ์ของเหตุการณ์หรือกระบวนการที่พิจารณา
  • การแบ่งประเภท — สิ่งต่าง ๆ ในบทความที่ถูกจัดกลุ่มเพื่อช่วยทำให้เกิดความเข้าใจ
  • การเปรียบเทียบและการเปรียบต่าง — สิ่งต่าง ๆ สองสิ่งหรือมากกว่านั้นถูกพิจารณาเคียงข้างกันเพื่อให้เห็นความคล้ายหรือความต่าง
  • รายการ — ชิ้นส่วนสารสนเทศที่ถูกจัดวางไว้เป็นรายการเป็นข้อ ๆ
  • คำถามและคำตอบ — เช่นบทสัมภาษณ์ของผู้มีชื่อเสียงหรือผู้เชี่ยวชาญ

สรุปเรื่อง

ความแตกต่างอย่างหนึ่งระหว่างบทความข่าวกับบทความโดดเด่นคือการสรุปเรื่องเพื่อจบบทความ การจบบทความข่าวจะปรากฏเมื่อสารสนเทศทุกอย่างได้นำเสนอทั้งหมดแล้วตามมโนทัศน์พีระมิดกลับหัว ในทางที่ต่างกัน บทความโดดเด่นจำเป็นต้องใช้การจบบทความมากกว่า สรุปเรื่องของบทความดังกล่าวมีสิ่งต่อไปนี้ แต่ไม่จำกัดเพียงเท่านี้

  • คำพูดหรือวาทกรรมส่งท้าย
  • การพรรณนาฉากหรือเหตุการณ์ต่อจากนี้
  • การเล่นคำกับชื่อเรื่องหรือหัวเรื่อง
  • ถ้อยแถลงสรุปความ

บทความ

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

ส่วนประกอบของบทความ

หัวเรื่อง

หัวเรื่องหรือพาดหัว (headline) เป็นข้อความที่อยู่บนสุดของบทความแสดงถึงประเด็นหลักของบทความ หัวเรื่องมักถูกออกแบบให้โดดเด่นสะดุดตา และใช้คำที่เลือกสรรมาให้เกี่ยวข้องกับหัวเรื่อง หัวเรื่องหรือพาดหัวมักจะถูกเขียนหรือพิมพ์ด้วยรูปแบบอย่างย่อ ซึ่งอาจเรียบเรียงอย่างไม่เป็นประโยคหรือไวยากรณ์ที่ไม่สมบูรณ์

บรรทัดผู้เขียน

บรรทัดผู้เขียน (byline) เป็นบรรทัดแรกถัดจากหัวเรื่องหรือบรรทัดสุดท้ายในบทความที่ลงชื่อผู้เขียน อาจเป็นชื่อจริงหรือนามปากกาก็ได้ และมักจะระบุตำแหน่งงานของผู้เขียนอยู่ด้วย บรรทัดผู้เขียนอาจมีบทสรุปย่อของบทความด้วยก็ได้

นำเรื่อง

นำเรื่อง (lead) ซึ่งอาจเรียกว่าย่อหน้าแนะนำ บทนำ หรือคำนำ เป็นประโยคต่าง ๆ ที่จะดึงดูดความสนใจของผู้อ่านเข้าสู่เนื้อเรื่อง นำเรื่องแสดงให้เห็นถึงเรื่องที่ต้องการนำเสนอ ปรับน้ำเสียงและแนะนำผู้อ่านเข้าสู่บทความ

ในบทความข่าว ส่วนนำเรื่องจะให้ข้อเท็จจริงที่สำคัญที่สุดและตอบคำถามว่า ใคร ทำอะไร ที่ไหน เมื่อไร ทำไม และอย่างไร ในบทความโดดเด่น (บทความที่บรรณาธิการหยิบยกขึ้นเพื่อนำเสนอเป็นประเด็นสำคัญ) ผู้เขียนอาจเลือกใช้เทคนิคต่าง ๆ ในการเปิดเนื้อเรื่อง เช่นการใช้สิ่งต่อไปนี้

เนื้อเรื่อง

สำหรับบทความข่าว รายละเอียดและความละเอียดเป็นสิ่งที่ปรากฏชัดแจ้งในเนื้อเรื่องของข่าว และดำเนินไปอย่างราบรื่นต่อจากนำเรื่อง คำพูดและวาทกรรมจะถูกใช้ในบทความเพื่อเพิ่มอรรถรสและสนับสนุนเนื้อหาที่เขียน นอกจากนี้บทความข่าวส่วนใหญ่ก็ใช้อุปลักษณ์แบบพีระมิดกลับหัว

บทความโดดเด่นจะใช้รูปแบบตามความเหมาะสมตามประเภทของบทความ โครงสร้างของบทความโดดเด่นอาจมีสิ่งต่อไปนี้รวมอยู่ด้วย แต่ไม่จำกัดเพียงเท่านี้ [1]

  • ลำดับเวลา — บทความอาจบรรยายด้วยการเรียงลำดับอย่างหนึ่ง
  • เหตุและผล — สาเหตุและผลลัพธ์ของเหตุการณ์หรือกระบวนการที่พิจารณา
  • การแบ่งประเภท — สิ่งต่าง ๆ ในบทความที่ถูกจัดกลุ่มเพื่อช่วยทำให้เกิดความเข้าใจ
  • การเปรียบเทียบและการเปรียบต่าง — สิ่งต่าง ๆ สองสิ่งหรือมากกว่านั้นถูกพิจารณาเคียงข้างกันเพื่อให้เห็นความคล้ายหรือความต่าง
  • รายการ — ชิ้นส่วนสารสนเทศที่ถูกจัดวางไว้เป็นรายการเป็นข้อ ๆ
  • คำถามและคำตอบ — เช่นบทสัมภาษณ์ของผู้มีชื่อเสียงหรือผู้เชี่ยวชาญ

สรุปเรื่อง

ความแตกต่างอย่างหนึ่งระหว่างบทความข่าวกับบทความโดดเด่นคือการสรุปเรื่องเพื่อจบบทความ การจบบทความข่าวจะปรากฏเมื่อสารสนเทศทุกอย่างได้นำเสนอทั้งหมดแล้วตามมโนทัศน์พีระมิดกลับหัว ในทางที่ต่างกัน บทความโดดเด่นจำเป็นต้องใช้การจบบทความมากกว่า สรุปเรื่องของบทความดังกล่าวมีสิ่งต่อไปนี้ แต่ไม่จำกัดเพียงเท่านี้

  • คำพูดหรือวาทกรรมส่งท้าย
  • การพรรณนาฉากหรือเหตุการณ์ต่อจากนี้
  • การเล่นคำกับชื่อเรื่องหรือหัวเรื่อง
  • ถ้อยแถลงสรุปความ

Article

บทความ

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

ส่วนประกอบของบทความ

หัวเรื่อง

หัวเรื่องหรือพาดหัว (headline) เป็นข้อความที่อยู่บนสุดของบทความแสดงถึงประเด็นหลักของบทความ หัวเรื่องมักถูกออกแบบให้โดดเด่นสะดุดตา และใช้คำที่เลือกสรรมาให้เกี่ยวข้องกับหัวเรื่อง หัวเรื่องหรือพาดหัวมักจะถูกเขียนหรือพิมพ์ด้วยรูปแบบอย่างย่อ ซึ่งอาจเรียบเรียงอย่างไม่เป็นประโยคหรือไวยากรณ์ที่ไม่สมบูรณ์

บรรทัดผู้เขียน

บรรทัดผู้เขียน (byline) เป็นบรรทัดแรกถัดจากหัวเรื่องหรือบรรทัดสุดท้ายในบทความที่ลงชื่อผู้เขียน อาจเป็นชื่อจริงหรือนามปากกาก็ได้ และมักจะระบุตำแหน่งงานของผู้เขียนอยู่ด้วย บรรทัดผู้เขียนอาจมีบทสรุปย่อของบทความด้วยก็ได้

นำเรื่อง

นำเรื่อง (lead) ซึ่งอาจเรียกว่าย่อหน้าแนะนำ บทนำ หรือคำนำ เป็นประโยคต่าง ๆ ที่จะดึงดูดความสนใจของผู้อ่านเข้าสู่เนื้อเรื่อง นำเรื่องแสดงให้เห็นถึงเรื่องที่ต้องการนำเสนอ ปรับน้ำเสียงและแนะนำผู้อ่านเข้าสู่บทความ

ในบทความข่าว ส่วนนำเรื่องจะให้ข้อเท็จจริงที่สำคัญที่สุดและตอบคำถามว่า ใคร ทำอะไร ที่ไหน เมื่อไร ทำไม และอย่างไร ในบทความโดดเด่น (บทความที่บรรณาธิการหยิบยกขึ้นเพื่อนำเสนอเป็นประเด็นสำคัญ) ผู้เขียนอาจเลือกใช้เทคนิคต่าง ๆ ในการเปิดเนื้อเรื่อง เช่นการใช้สิ่งต่อไปนี้

เนื้อเรื่อง

สำหรับบทความข่าว รายละเอียดและความละเอียดเป็นสิ่งที่ปรากฏชัดแจ้งในเนื้อเรื่องของข่าว และดำเนินไปอย่างราบรื่นต่อจากนำเรื่อง คำพูดและวาทกรรมจะถูกใช้ในบทความเพื่อเพิ่มอรรถรสและสนับสนุนเนื้อหาที่เขียน นอกจากนี้บทความข่าวส่วนใหญ่ก็ใช้อุปลักษณ์แบบพีระมิดกลับหัว

บทความโดดเด่นจะใช้รูปแบบตามความเหมาะสมตามประเภทของบทความ โครงสร้างของบทความโดดเด่นอาจมีสิ่งต่อไปนี้รวมอยู่ด้วย แต่ไม่จำกัดเพียงเท่านี้ [1]

  • ลำดับเวลา — บทความอาจบรรยายด้วยการเรียงลำดับอย่างหนึ่ง
  • เหตุและผล — สาเหตุและผลลัพธ์ของเหตุการณ์หรือกระบวนการที่พิจารณา
  • การแบ่งประเภท — สิ่งต่าง ๆ ในบทความที่ถูกจัดกลุ่มเพื่อช่วยทำให้เกิดความเข้าใจ
  • การเปรียบเทียบและการเปรียบต่าง — สิ่งต่าง ๆ สองสิ่งหรือมากกว่านั้นถูกพิจารณาเคียงข้างกันเพื่อให้เห็นความคล้ายหรือความต่าง
  • รายการ — ชิ้นส่วนสารสนเทศที่ถูกจัดวางไว้เป็นรายการเป็นข้อ ๆ
  • คำถามและคำตอบ — เช่นบทสัมภาษณ์ของผู้มีชื่อเสียงหรือผู้เชี่ยวชาญ

สรุปเรื่อง

ความแตกต่างอย่างหนึ่งระหว่างบทความข่าวกับบทความโดดเด่นคือการสรุปเรื่องเพื่อจบบทความ การจบบทความข่าวจะปรากฏเมื่อสารสนเทศทุกอย่างได้นำเสนอทั้งหมดแล้วตามมโนทัศน์พีระมิดกลับหัว ในทางที่ต่างกัน บทความโดดเด่นจำเป็นต้องใช้การจบบทความมากกว่า สรุปเรื่องของบทความดังกล่าวมีสิ่งต่อไปนี้ แต่ไม่จำกัดเพียงเท่านี้

  • คำพูดหรือวาทกรรมส่งท้าย
  • การพรรณนาฉากหรือเหตุการณ์ต่อจากนี้
  • การเล่นคำกับชื่อเรื่องหรือหัวเรื่อง
  • ถ้อยแถลงสรุปความ

 

 

Don`t copy text!