Torrent
บิตทอร์เรนต์ (อังกฤษ: BitTorrent) เป็นโพรโทคอลรูปแบบ peer-to-peer ในการแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์ด้วยกันโดยตรง ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต โดยมีต้นกำเนิดมาจากความคิดของนายแบรม โคเฮน (Bram Cohen) ที่ต้องการให้การส่งผ่านข้อมูลสามารถอำนวยประโยชน์ได้ทั้งขาเข้าและขาออก ซึ่งเขาเริ่มพัฒนามันขึ้นมาตั้งแต่เดือน เมษายน ค.ศ. 2001 – Torrent
Top Ten Movie Torrent Sites List in 2018
Torrent Site Name
|
Web Site URL
|
Alexa Rank (As of June 21, 2018)
|
Comments
|
The Pirate Bay (currently offline)
|
124
|
Yes
|
|
5,562
|
Yes
|
||
Torrentz (down)
|
|||
ExtraTorrent (down)
|
|||
213
|
Yes
|
||
371
|
Yes
|
||
2117
|
No
|
||
torrentHound (down)
|
|||
ISOHunt.to (currently offline)
|
31,408
|
Yes
|
|
BitSnoop (down)
|
Torrent
บิตทอร์เรนต์ (อังกฤษ: BitTorrent) เป็นโพรโทคอลรูปแบบ peer-to-peer ในการแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์ด้วยกันโดยตรง ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต โดยมีต้นกำเนิดมาจากความคิดของนายแบรม โคเฮน (Bram Cohen) ที่ต้องการให้การส่งผ่านข้อมูลสามารถอำนวยประโยชน์ได้ทั้งขาเข้าและขาออก ซึ่งเขาเริ่มพัฒนามันขึ้นมาตั้งแต่เดือน เมษายน ค.ศ. 2001
หลักการทำงานของโปรแกรมบิตทอร์เรนต์
เครือข่ายของการใช้โปรแกรมบิตทอร์เรนต์นั้นเป็นลักษณะโยงใยถึงกันหมด ทุกเครื่องคอมพิวเตอร์สามารถรับส่งไฟล์ถึงกันได้ตลอดเวลา ซึ่งทุกเครื่องจะเป็นทั้งผู้รับและผู้ให้
เมื่อไฟล์เริ่มต้นเผยแพร่มาจากคอมพิวเตอร์เครื่องหนึ่ง เครื่องอื่นๆ ที่ต้องการไฟล์ (หรือผู้ที่รอโหลดอยู่นั่นเอง) ก็จะค่อยๆ ได้รับชิ้นส่วนไฟล์ไปทีละชิ้นทีละชิ้นแบบสุ่ม เหมือนภาพต่อจิ๊กซอว์
ทันทีที่ได้รับชิ้นส่วนไฟล์มา คอมพิวเตอร์เครื่องนั้นก็สามารถส่งต่อชิ้นส่วนไฟล์ที่ได้รับมาแล้วให้เครื่องอื่นที่ยังไม่มีได้ทันที ไม่ต้องรอให้ตัวเองได้ชิ้นส่วนไฟล์จนครบ 100% เป็นลักษณะของการเติมเต็มให้กัน ชิ้นส่วนไฟล์ตรงใหนที่ขาดไป สุดท้ายแล้วก็จะได้รับมาจากคอมพิวเตอร์เครื่องใดเครื่องหนึ่งในเครือข่ายในที่สุด ด้วยสาเหตุนี้เอง โปรแกรมบิตทอร์เรนต์จึงสามารถทำให้การส่งผ่านข้อมูลสามารถอำนวยประโยชน์ได้ทั้งขาเข้าและขาออก
การใช้งาน
ก่อนการใช้งานต้องมีโปรแกรมที่เรียกว่า ทอร์เร็นต์ไคลเอนต์ก่อน หลังจากนั้นจึงจะสามารถไปดาวน์โหลดไฟล์จากเว็บไซต์บิตทอร์เรนต์ต่างๆ ได้ โดยในปัจจุบันเว็บไซต์บิตทอร์เรนต์ มี 2 ประเภท คือ บิตทอร์เรนต์เปิด และ บิตทอร์เรนต์ปิด
- บิตทอร์เรนต์เปิด – คือเว็บไซต์บิตทอร์เรนต์ ที่บุคคลทั่วไปทั่วไปหรือสมาชิกที่ผ่านเข้าไปสามารถดาวน์โหลดไฟล์ได้ โดยไม่มีเงื่อนไขและไม่จำเป็นต้องเป็นสมาชิกที่เว็บไซต์นั้นๆ
- บิตทอร์เรนต์ปิด – คือเว็บไซต์บิตทอร์เรนต์ ที่บุคคลทั่วไปไม่สามารถเข้าไปดาวน์โหลดไฟล์ได้ โดยจะต้องเป็นสมาชิกก่อนเท่านั้น และในบางเว็บไซต์จะไม่สามารถดาวน์โหลดไฟล์ได้ ถ้าสมาชิกยังไม่ได้อัปโหลด โดยจะมีการคำนวณ ปริมาณการอัปโหลดต่อดาวน์โหลดเป็น Ratio โดยแต่ละเว็บไซต์จะกำหนด Ratio ขั้นต่ำในการดาวน์โหลดไฟล์แตกต่างกัน
รายชื่อทอร์เร็นต์ไคลเอนต์
โปรแกรมทอร์เร็นต์ไคลเอนต์มีอยู่มากมายหลายโปรแกรมหลายแพลตฟอร์มดังนี้
- ABC (Yet Another Bittorrent Client, ไมโครซอฟท์วินโดวส์, ลินุกซ์)
- Azureus (หลายระบบปฏิบัติการด้วยภาษาจาวา)
- BitComet (ไมโครซอฟท์วินโดวส์)
- BitLord (ไมโครซอฟท์วินโดวส์)
- BitTornado (ลินุกซ์, บีเอสดี, แมคโอเอสเท็น, ไมโครซอฟท์วินโดวส์, ฯลฯ)
- BitTorrent (ลินุกซ์, แมคโอเอสเท็น, ไมโครซอฟท์วินโดวส์)
- Burst! (ไมโครซอฟท์วินโดวส์)
- eXeem™ (ไมโครซอฟท์วินโดวส์)
- FlashGet (ไมโครซอฟท์วินโดวส์)
- KTorrent (ลินุกซ์)
- MLDonkey (ลินุกซ์, ไมโครซอฟท์วินโดวส์, แมคโอเอสเท็น, บีเอสดี,ฯลฯ)
- Shareaza (ไมโครซอฟท์วินโดวส์)
- Tomato Torrent (แมคโอเอส)
- Ziptorrent (ไมโครซอฟท์วินโดวส์)
- µTorrent (ไมโครซอฟท์วินโดวส์,แมคโอเอสเท็น)
Torrent
Torrent
บิตทอร์เรนต์ (อังกฤษ: BitTorrent) เป็นโพรโทคอลรูปแบบ peer-to-peer ในการแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์ด้วยกันโดยตรง ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต โดยมีต้นกำเนิดมาจากความคิดของนายแบรม โคเฮน (Bram Cohen) ที่ต้องการให้การส่งผ่านข้อมูลสามารถอำนวยประโยชน์ได้ทั้งขาเข้าและขาออก ซึ่งเขาเริ่มพัฒนามันขึ้นมาตั้งแต่เดือน เมษายน ค.ศ. 2001
หลักการทำงานของโปรแกรมบิตทอร์เรนต์
เครือข่ายของการใช้โปรแกรมบิตทอร์เรนต์นั้นเป็นลักษณะโยงใยถึงกันหมด ทุกเครื่องคอมพิวเตอร์สามารถรับส่งไฟล์ถึงกันได้ตลอดเวลา ซึ่งทุกเครื่องจะเป็นทั้งผู้รับและผู้ให้
เมื่อไฟล์เริ่มต้นเผยแพร่มาจากคอมพิวเตอร์เครื่องหนึ่ง เครื่องอื่นๆ ที่ต้องการไฟล์ (หรือผู้ที่รอโหลดอยู่นั่นเอง) ก็จะค่อยๆ ได้รับชิ้นส่วนไฟล์ไปทีละชิ้นทีละชิ้นแบบสุ่ม เหมือนภาพต่อจิ๊กซอว์
ทันทีที่ได้รับชิ้นส่วนไฟล์มา คอมพิวเตอร์เครื่องนั้นก็สามารถส่งต่อชิ้นส่วนไฟล์ที่ได้รับมาแล้วให้เครื่องอื่นที่ยังไม่มีได้ทันที ไม่ต้องรอให้ตัวเองได้ชิ้นส่วนไฟล์จนครบ 100% เป็นลักษณะของการเติมเต็มให้กัน ชิ้นส่วนไฟล์ตรงใหนที่ขาดไป สุดท้ายแล้วก็จะได้รับมาจากคอมพิวเตอร์เครื่องใดเครื่องหนึ่งในเครือข่ายในที่สุด ด้วยสาเหตุนี้เอง โปรแกรมบิตทอร์เรนต์จึงสามารถทำให้การส่งผ่านข้อมูลสามารถอำนวยประโยชน์ได้ทั้งขาเข้าและขาออก
การใช้งาน
ก่อนการใช้งานต้องมีโปรแกรมที่เรียกว่า ทอร์เร็นต์ไคลเอนต์ก่อน หลังจากนั้นจึงจะสามารถไปดาวน์โหลดไฟล์จากเว็บไซต์บิตทอร์เรนต์ต่างๆ ได้ โดยในปัจจุบันเว็บไซต์บิตทอร์เรนต์ มี 2 ประเภท คือ บิตทอร์เรนต์เปิด และ บิตทอร์เรนต์ปิด
- บิตทอร์เรนต์เปิด – คือเว็บไซต์บิตทอร์เรนต์ ที่บุคคลทั่วไปทั่วไปหรือสมาชิกที่ผ่านเข้าไปสามารถดาวน์โหลดไฟล์ได้ โดยไม่มีเงื่อนไขและไม่จำเป็นต้องเป็นสมาชิกที่เว็บไซต์นั้นๆ
- บิตทอร์เรนต์ปิด – คือเว็บไซต์บิตทอร์เรนต์ ที่บุคคลทั่วไปไม่สามารถเข้าไปดาวน์โหลดไฟล์ได้ โดยจะต้องเป็นสมาชิกก่อนเท่านั้น และในบางเว็บไซต์จะไม่สามารถดาวน์โหลดไฟล์ได้ ถ้าสมาชิกยังไม่ได้อัปโหลด โดยจะมีการคำนวณ ปริมาณการอัปโหลดต่อดาวน์โหลดเป็น Ratio โดยแต่ละเว็บไซต์จะกำหนด Ratio ขั้นต่ำในการดาวน์โหลดไฟล์แตกต่างกัน
รายชื่อทอร์เร็นต์ไคลเอนต์
โปรแกรมทอร์เร็นต์ไคลเอนต์มีอยู่มากมายหลายโปรแกรมหลายแพลตฟอร์มดังนี้
- ABC (Yet Another Bittorrent Client, ไมโครซอฟท์วินโดวส์, ลินุกซ์)
- Azureus (หลายระบบปฏิบัติการด้วยภาษาจาวา)
- BitComet (ไมโครซอฟท์วินโดวส์)
- BitLord (ไมโครซอฟท์วินโดวส์)
- BitTornado (ลินุกซ์, บีเอสดี, แมคโอเอสเท็น, ไมโครซอฟท์วินโดวส์, ฯลฯ)
- BitTorrent (ลินุกซ์, แมคโอเอสเท็น, ไมโครซอฟท์วินโดวส์)
- Burst! (ไมโครซอฟท์วินโดวส์)
- eXeem™ (ไมโครซอฟท์วินโดวส์)
- FlashGet (ไมโครซอฟท์วินโดวส์)
- KTorrent (ลินุกซ์)
- MLDonkey (ลินุกซ์, ไมโครซอฟท์วินโดวส์, แมคโอเอสเท็น, บีเอสดี,ฯลฯ)
- Shareaza (ไมโครซอฟท์วินโดวส์)
- Tomato Torrent (แมคโอเอส)
- Ziptorrent (ไมโครซอฟท์วินโดวส์)
- µTorrent (ไมโครซอฟท์วินโดวส์,แมคโอเอสเท็น)