Torrent

บิตทอร์เรนต์ (อังกฤษBitTorrent) เป็นโพรโทคอลรูปแบบ peer-to-peer ในการแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์ด้วยกันโดยตรง ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต โดยมีต้นกำเนิดมาจากความคิดของนายแบรม โคเฮน (Bram Cohen) ที่ต้องการให้การส่งผ่านข้อมูลสามารถอำนวยประโยชน์ได้ทั้งขาเข้าและขาออก ซึ่งเขาเริ่มพัฒนามันขึ้นมาตั้งแต่เดือน เมษายน ค.ศ. 2001 – Torrent

Torrent - BitTorrent

Top Ten Movie Torrent Sites List in 2018

 

1.     https://yts.mx/

 

Torrent Site Name
Web Site URL
Alexa Rank (As of June 21, 2018)
Comments
The Pirate Bay (currently offline)
124
Yes
5,562
Yes
213
Yes
371
Yes
2117
No
ISOHunt.to (currently offline)
31,408
Yes
BitSnoop (down)

 

 

Home

เกาลัด

Google

 

 

Torrent

บิตทอร์เรนต์ (อังกฤษBitTorrent) เป็นโพรโทคอลรูปแบบ peer-to-peer ในการแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์ด้วยกันโดยตรง ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต โดยมีต้นกำเนิดมาจากความคิดของนายแบรม โคเฮน (Bram Cohen) ที่ต้องการให้การส่งผ่านข้อมูลสามารถอำนวยประโยชน์ได้ทั้งขาเข้าและขาออก ซึ่งเขาเริ่มพัฒนามันขึ้นมาตั้งแต่เดือน เมษายน ค.ศ. 2001

หลักการทำงานของโปรแกรมบิตทอร์เรนต์

BitTorrent - Torrent

ในภาพนี้, แถบสีภายใต้เครื่องลูกข่ายทั้งหมดแสดงถึงชิ้นส่วนของไฟล์ หลังจากชิ้นส่วนของไฟล์ได้ถูกส่งจากคอมพิวเตอร์เครื่องหนึ่งแล้วไปยังอีกเครื่องแล้ว ชิ้นส่วนไฟล์นั้นก็จะถูกส่งต่อไปเรื่อยๆ จนครบทุกเครื่อง ดังนั้นผู้ส่งไฟล์ต้นฉบับมีหน้าที่เพียงส่งสำเนาของไฟล์เพียงฉบับเดียวเพื่อให้เครื่องลูกข่ายได้รับสำเนาของไฟล์ทั้งหมด

Torrent - BitTorrent

เครือข่ายของบิตทอร์เรนต์นั้นมีลักษณะโยงใยถึงกันหมด มีแทรคเกอร์ (tracker) ที่ทำหน้าที่เป็นศูนย์กลางเก็บข้อมูลและสถิติต่างๆ ของผู้ร่วมใช้งาน, เสมือนประธานผู้ควบคุมการประชุม อย่างไรก็ตาม โปรแกรมบิททอร์เรนท์บางแบบ ไม่จำเป็นต้องมีแทรคเกอร์

เครือข่ายของการใช้โปรแกรมบิตทอร์เรนต์นั้นเป็นลักษณะโยงใยถึงกันหมด ทุกเครื่องคอมพิวเตอร์สามารถรับส่งไฟล์ถึงกันได้ตลอดเวลา ซึ่งทุกเครื่องจะเป็นทั้งผู้รับและผู้ให้

เมื่อไฟล์เริ่มต้นเผยแพร่มาจากคอมพิวเตอร์เครื่องหนึ่ง เครื่องอื่นๆ ที่ต้องการไฟล์ (หรือผู้ที่รอโหลดอยู่นั่นเอง) ก็จะค่อยๆ ได้รับชิ้นส่วนไฟล์ไปทีละชิ้นทีละชิ้นแบบสุ่ม เหมือนภาพต่อจิ๊กซอว์

ทันทีที่ได้รับชิ้นส่วนไฟล์มา คอมพิวเตอร์เครื่องนั้นก็สามารถส่งต่อชิ้นส่วนไฟล์ที่ได้รับมาแล้วให้เครื่องอื่นที่ยังไม่มีได้ทันที ไม่ต้องรอให้ตัวเองได้ชิ้นส่วนไฟล์จนครบ 100% เป็นลักษณะของการเติมเต็มให้กัน ชิ้นส่วนไฟล์ตรงใหนที่ขาดไป สุดท้ายแล้วก็จะได้รับมาจากคอมพิวเตอร์เครื่องใดเครื่องหนึ่งในเครือข่ายในที่สุด ด้วยสาเหตุนี้เอง โปรแกรมบิตทอร์เรนต์จึงสามารถทำให้การส่งผ่านข้อมูลสามารถอำนวยประโยชน์ได้ทั้งขาเข้าและขาออก

การใช้งาน

ก่อนการใช้งานต้องมีโปรแกรมที่เรียกว่า ทอร์เร็นต์ไคลเอนต์ก่อน หลังจากนั้นจึงจะสามารถไปดาวน์โหลดไฟล์จากเว็บไซต์บิตทอร์เรนต์ต่างๆ ได้ โดยในปัจจุบันเว็บไซต์บิตทอร์เรนต์ มี 2 ประเภท คือ บิตทอร์เรนต์เปิด และ บิตทอร์เรนต์ปิด

  • บิตทอร์เรนต์เปิด – คือเว็บไซต์บิตทอร์เรนต์ ที่บุคคลทั่วไปทั่วไปหรือสมาชิกที่ผ่านเข้าไปสามารถดาวน์โหลดไฟล์ได้ โดยไม่มีเงื่อนไขและไม่จำเป็นต้องเป็นสมาชิกที่เว็บไซต์นั้นๆ
  • บิตทอร์เรนต์ปิด – คือเว็บไซต์บิตทอร์เรนต์ ที่บุคคลทั่วไปไม่สามารถเข้าไปดาวน์โหลดไฟล์ได้ โดยจะต้องเป็นสมาชิกก่อนเท่านั้น และในบางเว็บไซต์จะไม่สามารถดาวน์โหลดไฟล์ได้ ถ้าสมาชิกยังไม่ได้อัปโหลด โดยจะมีการคำนวณ ปริมาณการอัปโหลดต่อดาวน์โหลดเป็น Ratio โดยแต่ละเว็บไซต์จะกำหนด Ratio ขั้นต่ำในการดาวน์โหลดไฟล์แตกต่างกัน

รายชื่อทอร์เร็นต์ไคลเอนต์

โปรแกรมทอร์เร็นต์ไคลเอนต์มีอยู่มากมายหลายโปรแกรมหลายแพลตฟอร์มดังนี้

  • ABC (Yet Another Bittorrent Client, ไมโครซอฟท์วินโดวส์, ลินุกซ์)
  • Azureus (หลายระบบปฏิบัติการด้วยภาษาจาวา)
  • BitComet (ไมโครซอฟท์วินโดวส์)
  • BitLord (ไมโครซอฟท์วินโดวส์)
  • BitTornado (ลินุกซ์, บีเอสดี, แมคโอเอสเท็น, ไมโครซอฟท์วินโดวส์, ฯลฯ)
  • BitTorrent (ลินุกซ์, แมคโอเอสเท็น, ไมโครซอฟท์วินโดวส์)
  • Burst! (ไมโครซอฟท์วินโดวส์)
  • eXeem™ (ไมโครซอฟท์วินโดวส์)
  • FlashGet (ไมโครซอฟท์วินโดวส์)
  • KTorrent (ลินุกซ์)
  • MLDonkey (ลินุกซ์, ไมโครซอฟท์วินโดวส์, แมคโอเอสเท็น, บีเอสดี,ฯลฯ)
  • Shareaza (ไมโครซอฟท์วินโดวส์)
  • Tomato Torrent (แมคโอเอส)
  • Ziptorrent (ไมโครซอฟท์วินโดวส์)
  • µTorrent (ไมโครซอฟท์วินโดวส์,แมคโอเอสเท็น)

Torrent

 

Torrent

บิตทอร์เรนต์ (อังกฤษBitTorrent) เป็นโพรโทคอลรูปแบบ peer-to-peer ในการแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์ด้วยกันโดยตรง ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ต โดยมีต้นกำเนิดมาจากความคิดของนายแบรม โคเฮน (Bram Cohen) ที่ต้องการให้การส่งผ่านข้อมูลสามารถอำนวยประโยชน์ได้ทั้งขาเข้าและขาออก ซึ่งเขาเริ่มพัฒนามันขึ้นมาตั้งแต่เดือน เมษายน ค.ศ. 2001

หลักการทำงานของโปรแกรมบิตทอร์เรนต์

ในภาพนี้, แถบสีภายใต้เครื่องลูกข่ายทั้งหมดแสดงถึงชิ้นส่วนของไฟล์ หลังจากชิ้นส่วนของไฟล์ได้ถูกส่งจากคอมพิวเตอร์เครื่องหนึ่งแล้วไปยังอีกเครื่องแล้ว ชิ้นส่วนไฟล์นั้นก็จะถูกส่งต่อไปเรื่อยๆ จนครบทุกเครื่อง ดังนั้นผู้ส่งไฟล์ต้นฉบับมีหน้าที่เพียงส่งสำเนาของไฟล์เพียงฉบับเดียวเพื่อให้เครื่องลูกข่ายได้รับสำเนาของไฟล์ทั้งหมด

เครือข่ายของบิตทอร์เรนต์นั้นมีลักษณะโยงใยถึงกันหมด มีแทรคเกอร์ (tracker) ที่ทำหน้าที่เป็นศูนย์กลางเก็บข้อมูลและสถิติต่างๆ ของผู้ร่วมใช้งาน, เสมือนประธานผู้ควบคุมการประชุม อย่างไรก็ตาม โปรแกรมบิททอร์เรนท์บางแบบ ไม่จำเป็นต้องมีแทรคเกอร์

เครือข่ายของการใช้โปรแกรมบิตทอร์เรนต์นั้นเป็นลักษณะโยงใยถึงกันหมด ทุกเครื่องคอมพิวเตอร์สามารถรับส่งไฟล์ถึงกันได้ตลอดเวลา ซึ่งทุกเครื่องจะเป็นทั้งผู้รับและผู้ให้

เมื่อไฟล์เริ่มต้นเผยแพร่มาจากคอมพิวเตอร์เครื่องหนึ่ง เครื่องอื่นๆ ที่ต้องการไฟล์ (หรือผู้ที่รอโหลดอยู่นั่นเอง) ก็จะค่อยๆ ได้รับชิ้นส่วนไฟล์ไปทีละชิ้นทีละชิ้นแบบสุ่ม เหมือนภาพต่อจิ๊กซอว์

ทันทีที่ได้รับชิ้นส่วนไฟล์มา คอมพิวเตอร์เครื่องนั้นก็สามารถส่งต่อชิ้นส่วนไฟล์ที่ได้รับมาแล้วให้เครื่องอื่นที่ยังไม่มีได้ทันที ไม่ต้องรอให้ตัวเองได้ชิ้นส่วนไฟล์จนครบ 100% เป็นลักษณะของการเติมเต็มให้กัน ชิ้นส่วนไฟล์ตรงใหนที่ขาดไป สุดท้ายแล้วก็จะได้รับมาจากคอมพิวเตอร์เครื่องใดเครื่องหนึ่งในเครือข่ายในที่สุด ด้วยสาเหตุนี้เอง โปรแกรมบิตทอร์เรนต์จึงสามารถทำให้การส่งผ่านข้อมูลสามารถอำนวยประโยชน์ได้ทั้งขาเข้าและขาออก

การใช้งาน

ก่อนการใช้งานต้องมีโปรแกรมที่เรียกว่า ทอร์เร็นต์ไคลเอนต์ก่อน หลังจากนั้นจึงจะสามารถไปดาวน์โหลดไฟล์จากเว็บไซต์บิตทอร์เรนต์ต่างๆ ได้ โดยในปัจจุบันเว็บไซต์บิตทอร์เรนต์ มี 2 ประเภท คือ บิตทอร์เรนต์เปิด และ บิตทอร์เรนต์ปิด

  • บิตทอร์เรนต์เปิด – คือเว็บไซต์บิตทอร์เรนต์ ที่บุคคลทั่วไปทั่วไปหรือสมาชิกที่ผ่านเข้าไปสามารถดาวน์โหลดไฟล์ได้ โดยไม่มีเงื่อนไขและไม่จำเป็นต้องเป็นสมาชิกที่เว็บไซต์นั้นๆ
  • บิตทอร์เรนต์ปิด – คือเว็บไซต์บิตทอร์เรนต์ ที่บุคคลทั่วไปไม่สามารถเข้าไปดาวน์โหลดไฟล์ได้ โดยจะต้องเป็นสมาชิกก่อนเท่านั้น และในบางเว็บไซต์จะไม่สามารถดาวน์โหลดไฟล์ได้ ถ้าสมาชิกยังไม่ได้อัปโหลด โดยจะมีการคำนวณ ปริมาณการอัปโหลดต่อดาวน์โหลดเป็น Ratio โดยแต่ละเว็บไซต์จะกำหนด Ratio ขั้นต่ำในการดาวน์โหลดไฟล์แตกต่างกัน

รายชื่อทอร์เร็นต์ไคลเอนต์

โปรแกรมทอร์เร็นต์ไคลเอนต์มีอยู่มากมายหลายโปรแกรมหลายแพลตฟอร์มดังนี้

  • ABC (Yet Another Bittorrent Client, ไมโครซอฟท์วินโดวส์, ลินุกซ์)
  • Azureus (หลายระบบปฏิบัติการด้วยภาษาจาวา)
  • BitComet (ไมโครซอฟท์วินโดวส์)
  • BitLord (ไมโครซอฟท์วินโดวส์)
  • BitTornado (ลินุกซ์, บีเอสดี, แมคโอเอสเท็น, ไมโครซอฟท์วินโดวส์, ฯลฯ)
  • BitTorrent (ลินุกซ์, แมคโอเอสเท็น, ไมโครซอฟท์วินโดวส์)
  • Burst! (ไมโครซอฟท์วินโดวส์)
  • eXeem™ (ไมโครซอฟท์วินโดวส์)
  • FlashGet (ไมโครซอฟท์วินโดวส์)
  • KTorrent (ลินุกซ์)
  • MLDonkey (ลินุกซ์, ไมโครซอฟท์วินโดวส์, แมคโอเอสเท็น, บีเอสดี,ฯลฯ)
  • Shareaza (ไมโครซอฟท์วินโดวส์)
  • Tomato Torrent (แมคโอเอส)
  • Ziptorrent (ไมโครซอฟท์วินโดวส์)
  • µTorrent (ไมโครซอฟท์วินโดวส์,แมคโอเอสเท็น)

Torrent

Don`t copy text!